วันอังคารที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2551

1.จงเขียนวิเคราะห์งานเพื่อเขียนโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส

1.1 วัตถุประสงค์ของงาน
คำนวนหาพื้นที่ สี่เหลี่ยมจัตุรัส
1.2 ผลลัพธ์ ( Output )
แสดงผลข้อมูล ความยาวด้านยาว
และผลลัพธ์ที่ได้จากคำนวณหาพื้นที่
Input Den = ...............
Area = ...............
1.3 ข้อมูลนำเข้า ( In Put )
ได้แก่ ความยาวด้าน
1.4 ชื่อตัวแปรที่ใช้
-Den = ด้าน
-Area = พื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส
1.5 ลำดับงาน
-ป้อนข้อมูล ความยาวด้าน
-คำนวณหาพื่นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส Area=Den*Den
-แสดงผลลัพธ์
-จบการทำงาน

2)จงเขียนวิเคราะห์งานเพื่อเขียนโปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า

2.1 วัตถุประสงค์ของงาน
คำนวนหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า
2.2 ผลลัพธ์ ( Output )
แสดงผลข้อมูล ความด้าน ความยาว
และผลลัพธ์ที่ได้จากคำนวณหาพื้นที่
Input Width = ...................
Input Height = ...................
Area = ...................
2.3 ข้อมูลนำเข้า ( In Put )
ได้แก่ ความยาว และความกว้าง
2.4 ชื่อตัวแปรที่ใช้
-Wigth = ความยาว
-Height = ความกว้าง
-Area = พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า
2.5 ลำดับงาน
-ป้อนข้อมูล ความยาว
-ป้อนข่อมูล ความกว้าง
-คำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า Area=Width*Height
-แสดงผลลัพธ์
-จบการทำงาน

3)จงเขียนวิเคราะห์ งานเพื่อเขียนโปรแกรมคำนวณหาอายุ

3.1 วัตถุประสงค์ของงาน
คำนวนหาหาอายุ
3.2 ผลลัพธ์ ( Output )
แสดงผลข้อมูล พ.ศ.เกิด พ.ศ.ปัจจุบันและอายุ
Input Brith = ..........................
Input Year = ..........................
Age = ..........................
3.3 ข้อมูลนำเข้า ( In Put )
ได้แก่ พ.ศ.เกิด และ พ.ศ.ปัจจุบัน
3.4 ชื่อตัวแปรที่ใช้
-Birth = พ.ศ.เกิด
-Year = พ.ศ.ปัจจุบัน
-Age = อายุ
3.5 ลำดับงาน
-ป้อนข้อมูล พ.ศ.เกิด
-ป้อนข่อมูล พ.ศ.ปัจจุบัน
-คำนวณหาอายุ Age=Year-Brith
-แสดงผลลัพธ์
-จบการทำงาน

4)จงเขียนวิเคราะห์ งานเพื่อเขียนโปรแกรมคำนวณหาน้ำหนัก

4.1 วัตถุประสงค์ของงาน
คำนวณหาน้ำหนักเฉลี่ยของนักศึกษา3คน
4.2 ผลลัพธ์ ( Output )
แสดงผลข้อมูล น้ำหนักคนที่1 น้ำหนักคนที่2 น้ำหนักคนที่3
และน้ำหนักเฉลี่ย
Input Weight 1 = .........................
Input Weight 2 = .........................
Input Weight 3 = .........................
Area = .........................
4.3 ข้อมูลนำเข้า ( In Put )
ได้แก่ น้ำหนักคนที่1 น้ำหนักคนที่2 และน้ำหนักคนที่3
4.4 ชื่อตัวแปรที่ใช้
-Weight 1 = น้ำหนักคนที่ 1
-Weight 2 = น้ำหนักคนที่ 2
-Weight 3 = น้ำหนักคนที่ 3
-Area = น้ำหนักเฉลี่ย
4.5 ลำดับงาน
-ป้อนข้อมูล น้ำหนักคนที่1
-ป้อนข้อมูล น้ำหนักคนที่2
-ป้อนข้อมูล น้ำหนักคนที่3
-คำนวณหาน้ำหนักเฉลี่ย Area=(Wigth1+Wigth2+Wigth3)/3
-แสดงผลลัพธ์
-จบการทำงาน

5)จงเขียนวิเคราะห์ งานเพื่อเขียนโปรแกรมคำนวณหาเงินโบนัส 5เดือน

5.1วัตถุประสงค์ของงาน
คำนวณหาเงินโบนัส 5เดือน
5.2ผลลัพธ์ ( Output )
แสดงผลข้อมูล เงินเดือน จำนวนเดือนที่ได้รับโบนัสและโบนัส
Input Salary=.............................
Input Month=.............................
bonus =.............................
5.3ข้อมูลนำเข้า ( In Put )
ได้แก่ เงินเดือนและจำนวนเดือนที่ได้รับโบนัส
5.4ชื่อตัวแปรที่ใช้
-Bonus = จำนวนเดือนที่ได้รับโบนัส
-Salary = เงินเดือน
-Month = โบนัส
5.5ลำดับงาน
-ป้อนข้อมูล เงินเดือน
-ป้อนข่อมูล จำนวนเดือนที่ได้รับโบนัส
-คำนวณหาโบนัส Bonus = Salary * Month
-แสดงผลลัพธ์
-จบการทำงาน

วันอาทิตย์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2551

1.คอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

แบ่งเป็น 4 ประเภทหลัก คือ

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะในการทำงานสูงกว่า คอมพิวเตอร์แบบอื่น ดังนั้นจึงมีผู้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (High Performance Computer) คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ สามารถคำนวนเลขที่มีจุดทศนิยม ด้วยความเร็วสูงมาก ขนาดหลายร้อยล้านจำนวนต่อวินาที งานที่ให้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ทำแค่ 1 วินาที ถ้าหากเอามาให้คนอย่างเราคิด อาจจะต้องใช้เวลานานกว่าร้อยปี ด้วยเหตุนี้ จึงเหมาะที่จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เมื่อต้องมีการคำนวนมากๆ อย่างเช่น งานวิเคราะห์ภาพถ่าย จากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา หรือดาวเทียมสำรวจทรัพยากร งานวิเคราะห์พยากรณ์อากาศ งานทำแบบจำลองโมเลกุล ของสารเคมี งานวิเคราะห์โครงสร้างอาคาร ที่ซับซ้อน คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ มีราคาค่อนข้างแพง
2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูงมาก แต่ยังต่ำกว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ คือปกติสามารถทำงานได้รวดเร็ว หลายสิบล้านคำสั่งต่อวินาที สำหรับสาเหตุที่ได้ชื่อว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ก็เพราะครั้งแรกที่สร้างคอมพิวเตอร์ลักษณะนี้ได้สร้างไว้บนฐานรองรับ ที่เรียกว่า คัสซี่ (Chassis) โดยมีชื่อเรียกฐานรองรับนี้ว่า เมนเฟรม นั่นเอง เหมาะกับการใช้งาน ทั้งในด้านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลจำนวนมากๆ
3.มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม คือทำงานได้ช้ากว่า และควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า อย่างไรก็ตามจุดเด่นสำคัญ ของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็คือ ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม การใช้งานก็ไม่ต้องใช้ บุคลากรมากนัก นอกจากนั้น ยังมีผู้ที่รู้วิธีใช้มากกว่าด้วย เพราะเครื่องประเภทนี้ มีใช้ตามสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาหลายแห่ง
4.ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก และใช้ทำงานคนเดียว จึงนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ใช้งานที่พบได้อย่างแพร่หลาย จัดว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทั้งระบบใช้งานครั้งล่ะคนเดียว หรือใช้งานในลักษณะเครือข่าย
ลักษณะของไมโครคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้ เป็นรูปแบบย่อยดังนี้
4.1เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานทั่วไป ที่เรียกว่า Desktop Models รวมถึง Minitower / Tower Models

4.2เครื่องพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือ Notebook Computer หรือ Laptop Computer

4.3เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือ หรือ Handheld Personal Computers (H/PCs)

2.คอมพิวเตอร์แบบฝังคืออะไร

เป็นอุปกรณ์ต่างๆที่มีระบบปฏิบัติการแบบฝัง(Embeded OS)อยู่ในอุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น พีดีเอ หรือ สมาร์ทโฟน บางรุ่น สามารถช่วยในการทำงานของอุปกรณ์แบบไม่ประจำที่เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อมๆ กับที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว เช่น รองรับการทำงานทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลง หรือ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

ที่มา http://zaraego.igetweb.com/?mo=3&art=126302